วันอังคารที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556


20 กุมภาพันธ์ 2556
วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยEAED 2204
08.30-12.20 น.


คณิตศาสตร์มี 6 สาระ
สาระที่ 1  จำนวนและการดำเนินการ  
                - เข้าใจถึงความหลากหลายและการใช้จำนวนในชีวิตประจำวัน
สาระที่ 2  การวัด
                - เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัดความยาว น้ำหนัก ปริมาตร และเวลา
สาระที่ 3 เรขาคณิต
               - รู้จักใช้คำในการบอกตำแหน่งทิศทางและระยะทาง
              - รู้จักจำแนกรูปเรขาคณิตและเข้าใจการเปลี่ยนแปลงรูปเรขาคณิตที่เกิดจากการจัดกระทำ
สาระที่ 4 พีชคณิต
               - เข้าใจรูปแบบและความสัมพันธ์
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็
               - รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับตนเองและสิ่งแวดล้อมนำเสนอ
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
กลุ่มเพื่อนสอบสอน
1. หน่วยไข่กับการทำอาหาร












2. หน่วยไข่จ๋า











3. หน่วยน้ำ











         และอาจายร์ได้บอกว่า การสอบปลายภาคให้สอบนอกตารางแต่เอาวัน-เวลาเหมือนในตาราง  แล้วให้มาเจอกันที่ตึกคณะ




13 กุมภาพันธ์ 2556
วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยEAED 2204
08.30-12.20 น.




กลุ่มเพื่อนสอบสอน เรื่องสัตว์น่ารัก 

สมาชิกกลุ่มคือ น.ส. วรรณพร จินดาพรหม   น.ส. ชฏารัตน์ ยาเขียว   น.ส. ณัฐพร ดอนโสม
อาจารย์ยกตัวอย่าง รูปแบบการสอนเด็ก










6 กุมภาพันธ์ 2556
วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยEAED 2204
08.30-12.20 น.



      เนื้้อหาที่เรียน

หน่วยการเรียน

  1. คณิตศาสตร์
  2. วิทยาศาสตร์
  3. ภาษา                                       = ด้านร่างกาย
  4. ความคิดสร้างสรรค์    = ด้านอารมณ์
  5. สังคม                                       = ด้านสังคม                 = คิดสร้างสรรค์                  =  ศิลปะ
  6. คุณธรรม                                = ด้านสติปัญญา   = ความคิด  = เหตุผล    = วิทยาศาสตร์
  7. จริยธรรม                               = ภาษา                             = คณิตศาสตร์
  8. กาย

วันพุธที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556


30 มกราคม 2556
วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยEAED 2204
08.30-12.20 น.
 
      การระดมความคิดของปฐมวัย

   นิทานเวที
   นิทรรศการสื่อ
   เล่นดนตรี
  ร้องเพลง
  เล่านิทาน
   เล่นเกม
   รำ
   งานศิลปะ
  เต้น

1. การสอนเด็กต้องสอนเรื่องใกล้ตัวเด็ก
2. ประสบการณ์  คือ ต้องลงมือกระทำ เด็กจึงจะเกิดการเรียนรู้
3. การนับหรือการเรียง  ต้องเรียงจากซ้ายไปขวา เพื่อที่จะให้เด็กมีประสบการณ์เป็นพื้นฐานในการจำ
4. การวางตัวเลขจะวางไว้หน้าคำหรือหลังคำก็ได้แต่ต้องอยู่ในตำแหน่งเดียวกันกับคำนั้นๆ
5. การแยก     เป็นพื้นฐานของการลบ
6. การรวม     เป็นพื้นฐานของการบวก
7. ภาษา/คณิตศาสตร์    เป็นเครื่องมือที่พัฒนาการเรียนรู้ของมนุษย์
8. ถ้าเด็กยังไม่มีการลงมือกระทำ  แสดงว่า จะเป็นแค่เพียงการรับรู้เท่านั้น


      ร้องเพลง
      เล่านิทาน     =    3  อย่านี้สามารถใช้ร่วมกันในการเล่านิทานได้
      เต้น
 
โอกาสที่เด็กจะทำได้มีสูงเพราะเด็กสามารถทำเป็นประจำได้ การลงมือกระทำจะประสบความสำเร็จดีมาก  
 
9. เครื่องมือที่การวัดที่เป็นทางการ  ไม่ควรนำม่ใช้กับเด็ก  เช่น  ไม้บรรทัด
10. ควรใช้เครื่องมือที่ไม่เป็นทางการ  เช่น  คืบ  ฝ่ามือ     
        - สาระที่ 2 การวัด  มาตรฐาน  เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัดและความยาว
        - สาระที่ 3 เลขาคณิต   มาตรฐาน  รู้จักตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง รูปทรง 
        - สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น   มาตรฐาน  การนำเสนอข้อมูล / การรวบรวมข้อมูล
 
 
สิ่่งที่เด็กต้องรู้
  สิ่งของบางอย่างต่างกัน  สิ่งของบางอย่างเหมือนกัน เด็กจึงต้องดูและแยกแยะให้ได้ว่าต่างและเหมือนกันอย่างไร



23 มกราคม 2556
วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยEAED 2204
08.30-12.20 น.


     เนื้้อหา

อาจารย์ให้ทำมายแม็บ  เพื่อสาระการเรียนรู้  โดยแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน  กลุ่มดิฉันมี                                               น.ส. ศริวรรณ ปานมุข น.ส นพมาศ วันดี  น.ส กรรจิรา สึกขุนทด น.ส ชิดชนก เสโส











16 มกราคม 2556
วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยEAED 2204
08.30-12.20 น.


  
                 ไม่มีการเรียนการสอน เพราะเป็นวันครู จึงได้ไปเข้าร่วมฟังธรรมะ









9 มกราคม 2556
วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยEAED 2204
08.30-12.20 น.



เนื้้อหา/สาระ

จำนวน  =  วันนี้นักเรียนมากี่คน /ได้เงินมากี่บาท/จำนวนอาคารในโรงเรียน/ราคาข้าวในโรงอาหาร
การแทนด้วยตัวเลข = เขียน/นำสัญลักษณ์มาวาง

การสร้างสื่อการสอน   อย่าสร้างให้ยึดติดกับผนัง  ต้องคำนึงถึงประโยชน์ในการใช้

2 มกราคม 2556
วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยEAED 2204
08.30-12.20 น.



           วันนี้เป็นวันเปิดเรียนวันแรกของปี 2556 อาจารย์ให้ส่งงานที่สั่งให้ไปทำงานคู่ ซึ่งดิฉันคู่กับนางสาว ณัฐวดี  ขำสม  ชื่อเกม  เต่าแสนซน














26 ธันวาคม 2555
วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยEAED 2204
08.30-12.20 น.


- ไม่มีการเรียนการสอน เพราะเป็นวันสอบกลางภาค




19 ธันวาคม 2555
วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยEAED 2204
08.30-12.20 น.


          อาจารย์ให้ส่งวงกลมที่สั่งอาทิตย์ที่แล้ว คนที่ส่งงานครั้งนี้เป็นคนที่มีความรับผิดชอบแต่ถ้าคนที่ส่งงานแล้วทำผิดมาอาจจะไม่เข้าใจในคำสั่ง
          มาตราฐานนึกถึง คุณภาพ ตัวชี้วัด ตัววัดผล สถานศึกษา การสอบ สินค้า ผลิตภัณฑ์  
           ภาษา เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ในการสื่อสาร
          คณิตศาสตร์ เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ในการคำนาณและการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน
          กรอบนึกถึงจำกัด ขอบเขต กฎเกณฑ์
           ศัตรูของความคิดสร้างสรรค์ คือการขาดความเชื่อมั่น
           ปัจจัยการขาดความเชื่อมั่น คือ ตัวครูไม่รู้จักรอคอย ไม่ให้เวลาเด็ก ครูต้องเข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล
การใช้เหตุผล    พัฒนาการ    การอนุรักษ์    จำนวน    ค่า-ปริมาณ    ตัวเลข    สัญลักษณ์    รูปภาพ    ของจริง             รูปธรรม        กึ่งธรรม          นามธรรม
ของจริง รูปภาพ สัณลักษณ์ เป็นส่วนขยาย
รูปธรรม กึ่งธรรม นามธรรม    เป็นส่วนขยาย
การนับสิ่งของ
การเพิ่มคือ บวก  การลดคือ ลบ
คณิตศาสตร์  จับคู่ ขนาด รูปทรง
                      วงกลม ไม่มีมุม ไม่มีเหลี่ยม เป็นพื้นที่ปิด
                       พื้นที่    ไม่มีส่วนเกิน
                       ปริมาณ  ไม่มีส่วนเหลือ
กรอบมาตราฐาน โดย สสวท.
มาตราฐานที่ 1 จำนวนและดำเนินการ
                         เป็นความหลากหลายรู้ถึงค่าและดำเนินการและการแสดงจำนวน โดย เขียน พูด และบัตรตัวเลขแทนค่า
มาตราฐานที่ 2 การวัด
                         การใช้เครื่องมือเพือ่หาค่าหรือปริมาณ ทั้งน้ำหนัก ส่วนสูง เงิน เวลา(นาฬิกา) ปริมาณ
มาตราฐานที่ 3 เรขาคณิต
                         ตำแหน่งทิศทางและระยะทาง   ตำแหน่ง = หน้า หลัง นอก ใน    ทิศทาง = ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันตก ทิศตะวันออก     ระยะทาง = ใกล้ ไกล   และต้องรวมรูปทรงเลขาคณิตด้วย
มาตราฐานที่ 4 พีชคณิต
                         การเข้าใจแบบรูปและความสัมพันธ์  แบบรูปคือ แบบที่เขากำหนดแล้วให้เราทำตามแบบ
มาตราฐานที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
                         การรวบรวมข้อมูลต่างๆที่จะคำนาณ






 12 ธันวาคม 2555
วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยEAED 2204
08.30-12.20 น.



        อาจารย์ให้เขียนขอบข่ายในการสอนคณิตศาสตร์เป็นคู่ ใช้สื่ออะไรก็ได้
คู่ดิฉันคือ น.ส. กรรจิรา สึกขุนทด ซึ่งได้เขียนขอบข่ายเรื่อง อุปกรณ์เครื่องเขียน คือ
  1. การนับ   =    นำอุปกรณ์มารวมกัน แล้วให้เด็กนับ 1-10 หรือมากกว่านั้น
  2. ตัวเลข   =  ให้เด็กบอกจำนวนที่นับได้แก่ครู แล้วให้ครูเขียนสัญลักษณ์แทนค่า
  3. การจับคู่   =  ให้เด็กจับคู่อุปกรณ์ที่เป็นประเภทเดียวกัน
  4. การจัดประเภท    =   ให้เด็กจัดอุปกรณ์ที่มีสีเดียวกัน
  5. การเปรียบเทียบ  =   ให้เด็กเปรียบเทียบปากกากับดินสอ ว่าอันไหนสั้นอันไหนยาว
  6. การจัดลำดับ       =   ให้เด็กแบ่งอุปกรณืเป็น 2 ชุด ชุดหนึ่งมี สมุด ปากกาแดง ปากกาน้ำเงิน ดินสอ ยางลบ ไม้บรรทัด อย่างละ 1 ชิ้น
  7. รูปทรงและเนื้อที่  =   ให้เด็กหยิบของมา 8 ชิ้น แล้วให้เด็กสร้างเป็นอะไรก็ได้ตามจินตนาการของเด็ก
  8. การวัด   =     ให้เด็กลงมือวัดดินสอ 2 แท่ง ว่าแท่งไหนยาว แท่งไหนสั้น
  9. เซต       =      ครูถามเด็กว่าอุปกรณ์ทั้งหมดเป็นเซตอะไร
  10. เศษส่วน   =   ให้เด็กแบ่งอุปกรณ์ทั้งหมด ออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 6 ชิ้น
  11. การทำตามแบบหรือลวดลาย     =    ครูนำอุปกรณ์มา 4 ชิ้นแล้วให้เด็กดู แล้วเอาอุปกรณ์ออก 1 ชิ้น จึงถามเด็กว่าอะไรหายไป
  12. การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ =  ครูถามเด็กว่าไม้บรรทัดกับกบเหลาดินสอมีลักษณะเหมือนกันหรือไม่

          อาจารย์ให้นักศึกษาส่งงานที่ให้เขียนขอบข่ายในการสอนคณิตศาสตร์ แล้วถามทีละกลุ่ม สุ่มหัวข้อถาม

         อาจารย์ให้หยิบกล่องคนละ 1 กล่อง แล้วจับคู่ช่วยกันคิดว่ากล่องสามารถสอนคณิตศาสตร์ได้อย่างไรบ้าง



    แล้วให้จับกลุ่ม 5 กลุ่ม 10 คน เอากล่องแต่ละคนมาประกอบเป็นรูปร่าง


     นี่รูปของเพื่อนทั้ง 5 กลุ่ม



    แล้วจึงนำของเพื่อนทั้ง 5 กลุ่ม มาทำเป็นนิทรรศการ มีบ้านของหุ่นยนต์ 3 หลัง มีบ้านช้าง 1 หลัง มีสถานีรถไฟ รถไฟ และมีประตู 2 ประตู ทางเข้า-ออก


  อาจารย์สั่ง การบ้าน คือ ให้ตัดกระดาษจากกระดาษกล่องเป็นวงกลม ที่มีจุดผ่าศูนย์กลาง 1 นิ้ว    1.5 นิ้ว และ 2 นิ้ว อย่างละ 3 สี มีสีเหลือง สีเขียวเข้มและสีชมพู รวมเป็น 9 ชิ้น 






5 ธันวาคม 2555
วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยEAED 2204
08.30-12.20 น.


ไม่มีการเรียนการสอน เพราะตรงกับวันพ่อ


28 พฤศจิกายน 2555
วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยEAED 2204
08.30-12.20 น.


          วันนี้อาจารย์เข้า 9.30น เพราะได้เป็นประธานเปิดงานที่สาธิต
อาจราย์ได้พูดเรื่องคณิตศาสตร์ถึง รูปร่าง รูปทรง ปริมาณ ตัวเลข การจำแนก จำนวนและเลขาคณิต
ขอบข่ายการเรียนคณิตศาสตร์ในส่วนของปฐมวัย
(นิตยา ประพฤติกิจ.2541:17-19)
 
  1. การนับ (Counting) เป็นคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับตัวเลขอันดับแรกที่เด็กรู้จักเป็นการนับอย่างมีความหมาย เช่น นับ 1-10 หรือมากกว่านั้น การนับเพื่ออยากรู้จะนวน
  2. ตัวเลข (Number) เป็นการให้เด็กรู้จักตัวเลขที่เห็นหรือใช้ในชีวิตประจำวันให้เด็กได้เล่น ของเล่นที่เกี่ยวกับตัวเลข ให้เด็กได้นับและคิดเองโดยครูเป็นผู้วางแผนหรืออาจเป็นสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์แทนค่าจำนวนลำดับ
  3. การจับคู่ (Matching) ให้เด็กฝึกฝนลักษณะต่างๆ แล้วจับคู่เข้ากันเหมือนอยู่ประเภทเดียวกัน จับคู่จำนวนเท่ากัน จับคู่ภาพเหมือนตัวเล
  4. การจัดประเภท (Classification) จัดเป็นหมวดหมู่และต้องกำหนดเกณฑ์
  5. การเปรียบเทีบย (Comparing) เพื่อให้เด็กรู้ค่า เช่น สั้น-ยาว หนัก-เบา กว้าง-แคบ
  6. การจัดลำดับ (Ordering) ให้เด็กจัดสิ่งของเป็นชุดๆตามคำสั่ง
  7. รูปทรงและเนื้อที่ (Shage and Space) มีปริมาณ เนื้อที่และมิติ
  8. การวัด (Measurement) ให้เด็กได้ลงมือวัด ซึ่งการวัดให้ได้ค่าได้จำนวน
  9. เซต (Set) เช่น ให้รู้จักชุดเครื่องครัว ชุดแตงตัว มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
  10. เศษส่วน (Fraction) การแบ่งครึ่ง ต้องนับและดึงออกทีละชิ้น
  11. การทำตามแบบหรือลวดลาย (Patterning) รูปทรง ตัวเลข เส้น ฝึกให้เด็กฝึกฝนตามแบบและต่อให้สมบูรณ์
  12. การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ (Conservating) ให้เด็กลงมือปฎิบัติจริง เด็กตอบตามที่ตาเห็นและตอบโดยไม่มีเหตุผล ยังเอาเหตุผลมาอธิบายไม่ได้

(เยาวพา เดชะคุปต์.2542:87-88)

          สอนคณิตศาสตร์แนวใหม่เพื่อจัดประสบการณ์ให้เด็ก
  1. การจัดกลุ่มหรือเซต คือ การจับคู่ 1:1
  2. จำนวน คือ 1-10 หรือจำนวนคู่ คี่
  3. ระบบจำนวน คือ ชื่อของตัวเลข
  4. ความสัมพันธ์ระหว่างเซต เช่น เซตรวม การแยกเซต ฯลฯ
  5. คุณสมบัติของคณิตศาสตร์จาการรวมกลุ่ม  คือ การรวมกลุ่มและการแยก
  6. ลำดับที่ แสดงถึงจำนวน ปริมาณ เช่น มาก-น้อย สูง-ต่ำ
  7. การวัด วัดของเหลว เงินตรา อุณหภูมิ
  8. รูปทรงเลขาคณิต คือให้เด็กเปรีบยเทียบรูปร่าง ขนาดและระยะทาง
  9. สถิติและกราฟ เป็นตัวหนึ่งในการนำเสนอทำแผนภูมิ

21 พฤศจิกายน 2555
วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยEAED 2204
08.30-12.20 น.
สมาชิกกลุ่ม
1.นางสาว ชิดชนก  เสโส
2.นางสาวกรรจิรา   สึกขุนทด
3.นางสาว อัจฉริยา พุทธานุ